11. ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  1. คู่มือสำหรับประชาชนที่ อปท. จัดทำขึ้น
2. ตรวจสอบสัญญาณ WiFi ของ อปท. การจัดมุมอินเทอร์เน็ต
3. เอกสารประเมินความพึงพอใจ
4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ของ อปท.
12. การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen-Feedback)
  1. หลักฐานแบบประเมินความพึงพอใจ
2. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจที่ประมวลผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
3. เอกสารหรือรายการหรือวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่แสดงให้เห็นถึงการให้คะแนนและแสดงความคิดเห็นของประชาชน เพื่อให้มีการปรับปรุงบริการของ อปท.
4. มีและใช้อุปกรณ์อ่านบัตรแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน
 
หน่วยที่ 5 ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
13. การประเมินผลการควบคุมภายใน ระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค. 1 แบบ ปค.4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
  1. รายงานระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค. 1 แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
2. หนังสือนำส่งรายงานให้ผู้กำกับดูแล
14. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผู้ตรวจสอบภายในหรือมอบหมายให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ ผู้ตรวจสอบภายในและปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามที่หลักเกณฑ์ฯ กำหนด
  1. ข้อมูลอัตรากำลังตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน (กรณีมีผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ตรวจสอบภายใน)
2. คำสั่งมอบหมายให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ตรวจสอบภายใน)
3. แผนการตรวจสอบภายในประจำปี
4. รายงานผลการตรวจสอบ
  หน่วยที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
  หน่วยย่อยที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
15. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดทำข้อตกลง ในการปฏิบัติราชการระหว่าง ส่วนราชการกับผู้บริหารท้องถิ่น
  1. มีหนังสือ/เอกสาร เป็นข้อตกลงในการปฏิบัติราชการ
2. มีรายงานผลการปฏิบัติราชการ
3. มีเอกสารการลงนามของผู้มีอำนวยการสำนัก/กอง/ฝ่ายและข้าราชการ พนักงานจ้าง ลูกจ้างประจำ ได้ลงนามทราบทุกคน
16. มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประเมินผลตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีบุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
   1. คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลฯ ที่มีผู้แทนชุมชน องค์กร ภาคประชาชน ภาคเอกชน ร่วมเป็นกรรมการ ที่เป็นปัจจุบัน
2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประเมินผลฯ
3. รายงานผลการประเมินผลและเสนอ แนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน ให้ครบทั้ง 4 ด้าน
4. ผู้บริหารพิจารณาผลการประเมินและสั่งการ เสนอแนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน
   หน่วยย่อยที่ 2 ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA)
17. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผลคะแนน LPA โดยรวมเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
  1. ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. (LPA) ปี 2561 เทียบกับปี 2562
  หน่วยที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน
18. การมอบอำนาจการตัดสินใจ เพื่อปฏิบัติราชการ
  1. หนังสือหรือคำสั่งมอบอำนาจ พร้อมบัญชีการมอบอำนาจแนบท้าย (ไม่ใช่คำสั่งรักษาราชการแทน) ที่เป็นปัจจุบัน
2. การมอบอำนาจต้องเป็นเรื่องที่มีผลโดยตรงต่อประชาชนและเป็นอำนาจของผู้บริหาร อปท.
3. จำนวนหรือร้อยละของหนังสือ หรือคำสั่งมอบอำนาจที่ปฏิบัติจริงโดยการลงนามของ ผู้ได้รับมอบอำนาจ อย่างน้อยร้อยละ 80
19. มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคมเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
   1. มีและใช้อุปกรณ์อ่านบัตรแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน
2. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ ของ อปท.
3. ตรวจสอบข้อเท็จจริงที่มีอยู่จริง เช่น มี wifi ใช้งานจริงหรือไม่ หรือมีการใช้โปรแกรม อนุมัติงานก่อสร้างจริงหรือไม่ เป็นต้น
20. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการบูรณาการ (Intergration) โครงการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามอำนาจหน้าที่ ร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่น หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น
  1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
   หน่วยที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ
21. ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (2560 – 2562) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
  1. คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะทำงาน
2. รายงานการประชุมคณะทำงาน
3. บันทึกเสนอผู้บริหารเอกสารแสดงการขับเคลื่อนการดำเนินงานหลังจากการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ เสนอผู้บริหารพิจารณา
     
                
สถิติผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เริ่ม 1 กรกฏาคม 2560